กำลังเสือโคร่ง
ชื่อเครื่องยา | กำลังเสือโคร่ง |
ชื่ออื่นๆของเครื่องยา | |
ได้จาก | ลำต้น เนื้อไม้ แก่น |
ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา | |
ชื่ออื่น (ของพืชที่ให้เครื่องยา) | ขวากไก่ หนามเข็ม (ชัยภูมิ) ขอเบ็ด (หนองคาย) ขี้แรด (ปราจีนบุรี) เขี้ยวงู (ชุมพร) ตึ่ง เครือดำตัวแม่ (ลำปาง)เบน เบนขอ (ตะวันออกเฉียงเหนือ) เล็บครุฑ (จันทบุรี) เล็บรอก (พัทลุง) หมากตาไก้ (เลย) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Strychnos axillaris Colebr. |
ชื่อพ้อง | Strychnos chloropetala A.W. Hill., Strychnos plumosa |
ชื่อวงศ์ | Strychnaceae (Loganaceae) |
ลักษณะภายนอกของเครื่องยา:
เปลือกลำต้นสีน้ำตาล มีหนาม เนื้อไม้สีเทาหรือน้ำตาลอ่อน
เครื่องยา กำลังเสือโคร่ง
ลักษณะทางกายภาพและเคมีที่ดี:
ไม่มีข้อมูล
สรรพคุณ:
ตำรายาไทย: ใช้ ลำต้น แก้โลหิตเป็นพิษในการคลอดบุตร บาดทะยักปากมดลูก และสันนิบาตหน้าเพลิง แก้ปอดพิการ แก้ไอ ดับพิษในข้อในกระดูก เส้นเอ็น แก้พิษตานซาง ขับพยาธิในท้อง แก้กามโรค แก้เถาดานในท้อง แก่น บำรุงโลหิต ดับพิษไข้ แก้กระษัย ไตพิการ ปัสสาวะพิการ เปลือกต้น แก่น และใบ รสเฝื่อน ต้มดื่มแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้กระษัย แก้เหน็บชา แก้เข้าข้อ
ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี: ใช้ แก่น ต้มน้ำดื่ม ช่วยบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย
รูปแบบและขนาดวิธีใช้ยา:
ไม่มีข้อมูล
องค์ประกอบทางเคมี:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางเภสัชวิทยา:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางคลินิก:
ไม่มีข้อมูล
การศึกษาทางพิษวิทยา:
ไม่มีข้อมูล
ค้นหาข้อมูลพืชที่ให้เครื่องยา : phar.ubu.ac.th/herb-phargarden/
ตัวอย่างพรรณไม้แห้ง : phar.ubu.ac.th/herb-thaiherbarium/